2007年8月31日金曜日

ออกญาวิชาเยนทร์
เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) (กรีก:Κωνσταντίνος Γεράκης โคนสตันตินอส เกราคิส อังกฤษ: Constantine Phaulkon โดยคำว่า เกราคิส เป็นภาษากรีก แปลว่า เหยี่ยว หรือ falcon หรือในภาษาอังกฤษ) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็นสมุหนายกในรัชสมัยของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา

2007年8月26日日曜日

เพลงพระราชนิพนธ์ เกษตรศาสตร์
วิกิพีเดียยังไม่มีบทความที่ตรงกับชื่อนี้
เริ่มบทความ เพลงพระราชนิพนธ์ เกษตรศาสต
ค้นหา เพลงพระราชนิพนธ์ เกษตรศาสต ในบทความอื่น ๆ
ดูบทความที่กล่าวถึง เพลงพระราชนิพนธ์ เกษตรศาสต
ถ้าคุณสร้างหน้านี้แล้วเมื่อไม่นานมานี้แต่มันยังไม่ปรากฏขึ้น เป็นไปได้ที่จะมีการล่าช้าในปรับปรุงฐานข้อมูล ลองล้างข้อมูลเก่าในเครื่อง หรือกรุณารอสักครู่และตรวจดูอีกครั้งก่อนที่ท่านจะลองสร้างหน้าใหม่
ถ้าคุณสร้างบทความชื่อเรื่องนี้ก่อนหน้านี้ มันอาจจะถูกลบไปแล้ว ดู ปูมการลบ และทำไมหน้าถึงโดนลบ
ถ้าต้องการถามคำถามเกี่ยวกับ เพลงพระราชนิพนธ์ เกษตรศาสต ให้ลองถามที่ ปุจฉา-วิสัชนา

2007年8月25日土曜日

วัดเทพศิรินทร์
วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งอยู่ใกล้สะพานกษัตริย์ศึกและสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง)กรุงเทพมหานคร
รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อ พ.ศ. 2419 องค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมายุครบ 25 ชันษาพอดี พระองค์จึงโปรดฯ ให้สถาปนา วัด เทพศิรินทราวาส ขึ้น เพื่อทรงเฉลิมพระเกียรติ และ ทรงอุทิศพระราชกุศลสนองพระเดชพระคุณแห่งองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี ซึ่งทรงสิ้นพระชนม์ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ยังทรงพระเยาว์
วันที่ 3 กรกฏาคม พ.ศ. 2421 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ อาราธนา พระอริยมุนี มาจากวัดบวรนิเวศ พร้อมด้วย พระฐานานุกรม 3 รูป พระอันดับ 16 รูป สามเณร 3 รูป รวม 23 รูป มาอยู่วัดนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงบำเพ็ญพระราชกุศล แล้วประกาศ พระราชทานวิสุงคามสีมา และ พระราชทานนามอารามแห่งนี้ว่า วัดเทพศิรินทราวาส ตามพระนามแห่งองค์พระราชชนนี
สถาปัตยกรรมสำคัญได้แก่ พระอุโบสถของวัดเทพศิรินทราวาส มีขนาดใหญ่และตกแต่งอย่างงดงาม ด้วยลายรดน้ำและซุ้มประตูหน้าต่าง เพดานสลักรูปเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญหลายองค์ เช่น พระนิรันตรายซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจำรัชกาลที่ 4 ซึ่งอันเชิญมาเมื่อ พ.ศ. 2421 ตามพระราชประสงค์รัชกาลที่ 4
การวางแผนผังวัดเทพศิรินทราวาสนี้ ถือว่าเป็นแปลนที่เหมาะสม ที่โรงเรียนอยู่ทางด้านตะวันออก หน้าวัดและเขตพุทธาวาสอยู่ส่วนกลาง และสุสานอยู่ด้านตะวันตก ดุจชีวิตคนซึ่งเดินตามดวงตะวัน เริ่มด้วยวัยเด็ก วัยกลางคน และปัจฉิมวัยซึ่งไปสุดสิ้นที่สุสาน สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์
และใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯให้สร้างสุสานหลวงไว้ในวัด ด้วยมีพระราชประสงค์ให้เป็นฌาปนสถานสำหรับพระราชวงศ์ซึ่งไม่ได้สร้างพระเมรุฯ ที่ท้องสนามหลวงและสำหรับชนทุกชั้น นับเป็นเรื่องพิเศษ เนื่องจากโดยปกติแล้วจะไม่มีฌาปนสถานในพระอารามหลวง

2007年8月24日金曜日

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน มีซาน ไซนัล อาบิดีน
วิกิพีเดียยังไม่มีบทความที่ตรงกับชื่อนี้
เริ่มบทความ สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน ม
ค้นหา สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน ม ในบทความอื่น ๆ
ดูบทความที่กล่าวถึง สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน ม
ถ้าคุณสร้างหน้านี้แล้วเมื่อไม่นานมานี้แต่มันยังไม่ปรากฏขึ้น เป็นไปได้ที่จะมีการล่าช้าในปรับปรุงฐานข้อมูล ลองล้างข้อมูลเก่าในเครื่อง หรือกรุณารอสักครู่และตรวจดูอีกครั้งก่อนที่ท่านจะลองสร้างหน้าใหม่
ถ้าคุณสร้างบทความชื่อเรื่องนี้ก่อนหน้านี้ มันอาจจะถูกลบไปแล้ว ดู ปูมการลบ และทำไมหน้าถึงโดนลบ
ถ้าต้องการถามคำถามเกี่ยวกับ สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน ม ให้ลองถามที่ ปุจฉา-วิสัชนา

2007年8月23日木曜日


ส่วนหนึ่งของ พุทธศาสนา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน
พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
สมณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระสงฆ์ผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระสงฆ์รูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้วย

ความเป็นมาของสมณศักดิ์

ชั้นยศสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทยในปัจจุบัน
ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2541 โดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมในการประชุมครั้งที่ 6/2541 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 [1]
สมเด็จพระราชาคณะ
1. สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
2. สมเด็จพระสังฆราช
3. สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ (ตามอาวุโสโดยสมณศักดิ์)
พระราชาคณะ
4. พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นหิรัณยบัฏ
5. พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นสัญญาบัตร
6. พระราชาคณะ ชั้นธรรม
7. พระราชาคณะ ชั้นเทพ
8. พระราชาคณะ ชั้นราช
9. พระราชาคณะ ชั้นสามัญ
- พระราชาคณะปลัดขวา-ปลัดซ้าย-กลาง (พระสมุหวรคณิสสรสิทธิการ วัดพระเชตุพนฯ เป็นพระปลัดกลาง รูปแรก)
- พระราชาคณะ รองเจ้าคณะภาค
- พระราชาคณะ เจ้าคณะจังหวัด
- พระราชาคณะ รองเจ้าคณะจังหวัด
- พระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ
- พระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ ป.ธ.9-ป.ธ.8-ป.ธ.7-ป.ธ.6-ป.ธ.5-ป.ธ.4-ป.ธ.3
- พระราชาคณะ ชั้นสามัญเทียบเปรียญ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ
- พระราชาคณะ ชั้นสามัญเทียบเปรียญ
- พระราชาคณะ ชั้นสามัญยก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ
- พระราชาคณะ ชั้นสามัญยก
พระครูสัญญาบัตร
10. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะจังหวัด (จจ.)
11. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะจังหวัด (รจจ.)
12. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก (จล.ชอ.)
13. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอ ชั้นพิเศษ (จอ.ชพ.)
14. พระครูสัญญาบัตร เทียบเจ้าคณะอำเภอ ชั้นพิเศษ (ทจอ.ชพ.)
15. พระครูปลัดของสมเด็จพระราชาคณะ
16. พระเปรียญธรรม 9 ประโยค
17. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นโท (จล.ชท.)
18. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอ ชั้นเอก (จอ.ชอ.)
19. พระครูสัญญาบัตร เทียบเจ้าคณะอำเภอ ชั้นเอก (ทจอ.ชอ.)
20. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นตรี (จล.ชต.)
21. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอ ชั้นโท (จอ.ชท.)
22. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก (รจล.ชอ.)
23. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นโท (รจล.ชท.)
24. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นตรี (รจล.ชต.)
25. พระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นพิเศษ หรือเทียบเท่า (ผจล.ชพ. หรือทผจล.ชพ.)
26. พระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ หรือเทียบเท่า(ผจล.ชอ.วิ. หรือ ทผจล.ชอ.วิ.)
27. พระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก หรือเทียบเท่า (ผจล.ชอ. หรือทผจล.ชอ.)
28. พระครูปลัดของพระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ
29. พระครูปลัดของพระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นสัญญาบัตร
30. พระครูฐานานุกรมชั้นเอกของสมเด็จพระสังฆราช
31. พระเปรียญธรรม 8 ประโยค
32. พระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นโท หรือเทียบเท่า (ผจล.ชท. หรือทผจล.ชท.)
33. พระเปรียญธรรม 7 ประโยค
34. พระครูปลัดของพระราชาคณะ ชั้นธรรม
35. พระครูฐานานุกรมชั้นโท ของสมเด็จพระสังฆราช (พระครูปริต)
36. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะอำเภอ ชั้นเอก (รจอ.ชอ.)
37. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะอำเภอ ชั้นโท (รจอ.ชท.)
38. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบล ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ (จต.ชอ.วิ.)
39. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบล ชั้นเอก (จต.ชอ.)
40. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบล ชั้นโท (จต.ชท.)
41. พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบล ชั้นตรี (จต.ชต.)
42. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอก (จร.ชอ.)
43. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ฝ่ายวิปัสสนาธุระ (จร.ชท.วิ.)
44. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท (จร.ชท.)
45. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นตรี (จร.ชต.)
46. พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ (รจร.)
47. พระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ (ผจร.)
48. พระเปรียญธรรม 6 ประโยค
49. พระเปรียญธรรม 5 ประโยค
50. พระครูปลัดของพระราชาคณะ ชั้นเทพ
51. พระครูปลัดของพระราชาคณะ ชั้นราช
52. พระครูวินัยธร
53. พระครูธรรมธร
54. พระครูคู่สวด
55. พระเปรียญธรรม 4 ประโยค
56. พระปลัดของพระราชาคณะ ชั้นสามัญ
57. พระเปรียญธรรม 3 ประโยค
58. พระครูรองคู่สวด
59. พระครูสังฆรักษ์
60. พระครูสมุห์
61. พระครูใบฎีกา
62. พระสมุห์
63. พระใบฎีกา
64. พระพิธีธรรม

พระราชาคณะชั้นเทพ การพิจารณาแต่งตั้งสมณศักดิ์
ปัจจุบันการพระราชทานทรงตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์นั้น โดยปรกติ จะมีการพระราชพิธีพระราชทานฯ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี หรือในกรณีพิเศษ เช่น ในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 ในวันที่ 9 มิถุนายน
ซึ่งการพระราชทานสมณศักดิ์นั้น เฉพาะการทรงตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะขึ้นไปจะทรงตั้งในพระที่นั่งอมรินทร์วินิจฉัย ในพระบรมมหาราชวัง โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงพระราชทานสัญญาบัตรพัดยศด้วยพระองค์เอง หรือมอบให้ผู้แทนพระองค์ (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช) เป็นผู้พระราชทานแทน
สำหรับการพระราชทานสมณศักดิ์เฉพาะระดับพระครูสัญญาบัตรนั้น ในปัจจุบันจะทรงมอบพระราชภาระให้ผู้แทนพระองค์คือ สมเด็จพระสังฆราช หรือ เจ้าคณะใหญ่ ในภาคนั้น ๆ เป็นผู้มอบสัญญาบัตรพัดยศแทน ในวัดในเขตการปกครองของเจ้าคณะใหญ่หนนั้น ๆ ตามแต่มหาเถรสมาคมจะกำหนด

2007年8月22日水曜日


พุทธศักราช 470 ใกล้เคียงกับ ก่อน ค.ศ. 74

พ.ศ. 470 วันเกิด

2007年8月20日月曜日

รถไฟฟ้ามหานคร
รถไฟฟ้ามหานคร หรือที่ชาวกรุงเทพฯ นิยมเรียกว่า รถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใต้ดินในกรุงเทพมหานคร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) โดยได้รับสัมปทานจากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) รถไฟฟ้ามหานครนั้นเป็นระบบซึ่งดำเนินการแยกต่างหากจากระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส)
เส้นทางสายแรกซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่ารถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือรู้จักกันในชื่อไม่เป็นทางการว่ารถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) หลังจากที่เกิดความล่าช้าขึ้นหลายครั้ง ในที่สุดได้มีการเปิดให้สาธารณชนทดลองใช้งานในวงจำกัดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ปัจจุบันมีเส้นทางรวมระยะทาง 21 กิโลเมตร วิ่งจากสถานีบางซื่อถึง สถานีหัวลำโพง ผ่านสถานีรวม 18 สถานี และมีจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอสที่สถานีสีลม/ศาลาแดง สุขุมวิท/อโศก และสวนจตุจักร/หมอชิต เส้นทางสายสีน้ำเงินนี้สามารถรองรับผู้ใช้บริการได้ 80,000 คนต่อทิศทางต่อชั่วโมง เส้นทางนี้ยังมีโครงการที่จะขยายเส้นทางออกทางทิศเหนือไปยังถนนจรัญสนิทวงศ์และท่าพระ และออกทางทิศใต้ไปยังบางแค ซึ่งจะสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเส้นทางวงแหวนในอนาคต
สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งคือ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินทุกสถานีจะยกพื้นทางเข้าออกสูงจากระดับพื้นดิน เพื่อหลีกเลี่ยงน้ำ ที่อาจเข้าไปท่วมระบบหากเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมในอนาคต

รายชื่อสถานี

โครงสร้างทางวิ่ง :อุโมงค์คู่วางตามแนวราบ และตามแนวดิ่ง เส้นผ่าศูนย์การภายในอุโมงค์ 5.7 เมตรความลึกของอุโมงค์ 15-25 เมตร ทางเดินฉุกเฉินกว้าง 60 เมตร สูง 2.0 เมตร สถานี 18 สถานี มีทั้งแบบชานชาลากลางและ ชานชาลาด้านข้างประมาณ 150 เมตร กว้าง 22-23 เมตร (สถานีมาตรฐาน) มีประตูกันคนตก (Screen Door)
ระบบราง:รางคู่ขนาดมาตรฐาน (Standard Guage) กว้าง 1,435 มิลลิเมตร ใช้รางที่ 3วางขนานกันไปกับรางวิ่ง สำหรับจ่ายไฟฟ้าให้ตัวรถ
ระบบรถ :รถไฟฟ้าขนาดใหญ่ (heave rail)ใช้ล้อเหล็กวิ่งบนรางเหล็ก เป็นรถปรับอากาศขนาดกว้าง 3.2 เมตร ยาว 19.23 เมตร สูงประมาณ 3.8 เมตร ความจุ 320 คน/ คัน วิ่ง 3-6 คันต่อขบวน ใช้ไฟฟ้า 750 โวลท์ กระแสตรงป้อนระบบขับเคลื่อนรถใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับขับเคลื่อนตัวรถควบคุมการเดินรถด้วยระบบอัตโนมัติจากศูนย์ควบคุม ความเร็ว สูงสุด 80 กม./ซม.
ระบบเก็บค่าโดยสาร:ใช้ระบบเก็บและตรวจตั๋วอัตโนมัติ และสามารถใช้ตั๋วร่วมกับระบบอื่นได้ค่าโดยสารเก็บตามระยะทางอัตราค่าโดยสาร 12 บาท +2 บาท/ สถานี แต่ไม่เกิน 36 บาท (ราคาปี 2545)
การให้บริการความถี่:ชั่วโมงเร่งด้าน 2-4 นาที /ขบวน ชั่วโมงปกติ 4-6 นาที / ขบวน ให้บริการ 6.00-24.00 น. ความเร็วในการเดินทางเฉลี่ย 35 กม./ซม. ให้บริการได้มากกว่า 40,000 คน / ชั่วโมง /ทิศทาง
สิ่งอำนวยความสะดวก:ลิฟท์ บันไดเลื่อน ห้องน้ำร้านค้าย้อย สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ
ที่จอดรถสำหรับผู้โดยสาร:1 แห่งที่ลาดพร้าว รายละเอียดปลีกย่อย
จะเริ่มต้นที่จุดปลายโครงการรถไฟฟ้ามหานครระยะแรกฯ ที่บริเวณบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ผ่านถนนจรัญสนิทวงศ์ จนไปเชื่อมต่อกับสายสีน้ำเงิน หัวลำโพง-บางแค ที่ สี่แยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 13 กิโลเมตร
จะเริ่มต้นที่จุดปลายโครงการรถไฟฟ้ามหานคร ระยะแรกๆ ที่บริเวณหัวลำโพง ผ่านเยาวราช เฉลิมกรุง วังสราญรมย์ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณปากคลองตลาด ไปยังท่าพระ จากนั้นจะวิ่งไปตามถนนเพชรเกษม ผ่านตลาดบางแค และสิ้นสุดที่บริเวณถนนวงแหวนรอบนอก รวมระยะทางประมาณ 13.8 กิโลเมตร โดยช่วงจากหัวลำโพงถึงท่าพระ ระยะทางประมาณ 4.9 กิโลเมตร จะเป็นทางวิ่งใต้ดิน ส่วนที่เหลือเป็นทางวิ่งยกระดับรถไฟฟ้าสายนี้มีสถานีรวม 10 สถานี และมีที่จอดรถสำหรับผู้โดยสาร 1 แห่งที่บริเวณถนนวงแหวนรอบนอก

โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ
โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงหัวลำโพง-บางแค

2007年8月19日日曜日

มินูเอ็ต
มินูเอ็ต (อังกฤษ: minuet) หรือ เมนูเอ็ต (ฝรั่งเศส: menuet) หรือเป็นบทเพลงบรรเลงผสมที่เอาทำนองตอนเด่นๆของเพลงที่มีผู้แต่งไว้แล้วมาปะติดปะต่อ มาเรียบเรียงผสมชนิดปะติดปะต่อให้ต่อเนื่องเป็นเพลงเดียวกัน ซึ่งนิยมเล่นกันในยุคเรอเนซองส์และยุคบาโร้ค ซึ่งคำว่า มินูเอ็ต นั้น มาจากคำว่า Menu ภาษาละติน Munutus ซึ่งแปลความหมายเดียวแปลว่า "เล็ก ๆ" เพราะฉะนั้นเพลงมินูเอ็ตนั้นเป็นเพลงขนาดเล็กเล่นตามพระราชสำนักหรือพระราชวังขุนนางชั้นสูง มินูเอ็ตมีอัตราจังหวะ 3/4 คล้าย ๆ เพลงวอลซ์ เพลงมินูเอ็ตนั้น เป็นความคิดของ ฌอง บาทติสท์ ลุลลี ซึ่งเป็นผู้คิดเพลงมินูเอ็ตขึ้นมา แล้วเพลงมินูเอ็ตก็ได้รับความนิยมในชั้นขุนนาง การเต้นรำมินูเอ็ตนั้น จะให้นักเต้นรำเลือกคู่ แล้วก็เต้นรำกันไปตามจังหวะของเพลง
แล้วจากนั้น โยฮันน์ เซบาสเตียน บาคและจอร์จ เฟรดริก ฮันเดลได้ยืมความคิดแล้วมาแต่งในฉบับของตัวเอง เพลงมินูเอ็ตก็จะเป็นแบบทำนองสไตล์ยุคบาโร้ค โดยมีอัตราจังหวะ 3/8 หรือ 6/8 เพลงมินูเอ็ตจะเป็นเพลงประกอบตอนท้าย ๆ ของเพลงโอเวอร์เจอร์ของอิตาลีด้วย ผลงานมินูเอ็ตบาคก็คือ Orchestra Suite บางชุด อาจจะมีเพลงเต้นรำมินูเอ็ตรวมอยู่ด้วย
เพลงมินูเอ็ตได้รับความนิยมจนถึงยุคคลาสสิคได้มีการปฏิวัติทางดนตรีอย่างมาก ได้มีแนวคิดใหม่ ๆ โดยการใช้ทำนองมินูเอ็ตในท่อนที่ 3 โดยความคิดนี้ โจเซฟ ไฮเดิน ได้วางรากฐานของดนตรีประเภทคอนแชร์โต้ ซิมโฟนี่และโซนาต้า โดยให้ท่อนที่ 3 ใช้ทำนองเพลงแบบมินูเอ็ต โมซาร์ทก็ได้นำความคิดของไฮเดินมาใช้เหมือนกัน และหลังจากยุคของเบโธเฟ่นที่กำลังจะเข้าสู่ยุคโรแมนติค เบโธเฟ่นได้เปลี่ยนแปลง โดยให้ท่อนที่ 3 เปลี่ยนทำนองจากมินูเอ็ตเป็นรอนโด้หรือสแกร์โซแทนหลังจากนั้นมา ความคิดของเบโธเฟ่นก็เป็นที่ยอมรับของนักฟังเพลงทั่วโลก
เพลงมินูเอ็ตที่มีชื่อเสียงนั้น ก็คือเพลง Menuet BWV 113-116 ของบาค มินูเอ็ตของลุยจิ บอคเชอร์รินี่(Luigi Boccherini) และบางท่อนในโอเปราเรื่องดอน จูวานนี่ ของโมซาร์ท

2007年8月18日土曜日

Wikitennis
มี 25 หัวข้อในหมวดนี้

ถ้าคุณยังใหม่กับวิกิพีเดีย ขอแนะนำให้อ่านวิธีการใช้งานที่ การเริ่มต้น นโยบายวิกิพีเดีย และ คำสั่งพื้นฐานในวิกิพีเดีย
ช่วยโปรโมตในเว็บอื่น ให้ทำลิงก์มาที่ http://th.wikipedia.org/wiki/wikitennis
ชนะชัย ศรีชาพันธุ์
ณัฐนิดา หลวงแนม
ดนัย อุดมโชค
แทมมารีน ธนสุกาญจน์
ธนากร ศรีชาพันธุ์
ธัชชา วิทยวิโรจน์
นพวรรณ เลิศชีวกานต์
นภาพร ตงสาลี
นราธร ศรีชาพันธุ์
เบญจมาศ แสงอร่าม
พนมกร พลัดเชื้อนิล
พิจิตรา ทองเดช
ภราดร ศรีชาพันธุ์
มณฑินี ตั้งพงษ์
วรพล ทองคำชู
วรัชญา วงค์เทียนชัย
วรัญญา วิจักษณบุญ
วิทยา สำเร็จ
วิลาวัณย์ ชอบแต่ง
วีรภัทร ดอกไม้คลี่
สนฉัตร รติวัฒน์
สรรค์ชัย รติวัฒน์
สุชานัน วิรัชประเสริฐ
สุวิมล ดวงจันทร์
หนึ่งนัดดา วรรณสุข

2007年8月17日金曜日

Copyleft
บทความนี้มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษ เนื่องจากว่ายังไม่มีชื่อภาษาไทยที่กระชับ เหมาะสม หรือไม่รู้วิธีอ่านในภาษาไทย

2007年8月15日水曜日

พ.ศ. 2496
พุทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน

วันเกิด
• 8 ธันวาคม 2496 ประธานาธิบดีสหรัฐสมัยนั้น Mr. Dwigh Dawid Eisenhomre ได้จัดตั้งแผนการปรมาณูเพื่อสันติ หรือเรียกว่า Atomic for peace ขึ้นในที่ประชุมสมัชชาสมัยที่ 8 ขององค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ • 8 ธันวาคม 2496 ก่อตั้งสนามมวยลุมพินี

6 พฤษภาคม - โทนี แบลร์ นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร
14 พฤษภาคม - สมเด็จนโรดม สีหมุนี กษัตริย์กัมพูชา
16 พฤษภาคม - เพียร์ส บรอสแนน นักแสดงชาวไอริช
15 กรกฎาคม - สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์, สถาปนิกไทย
พ.ศ. 569
พุทธศักราช 569 ใกล้เคียงกับ ค.ศ. 26

วันเกิด

2007年8月14日火曜日

กองบัญชาการทหารสูงสุด
กองบัญชาการทหารสูงสุด (Supreme Command Headquater) เป็นส่วนราชการในกระทรวงกลาโหม ทำหน้าที่กำกับดูแลกองทัพไทยทั้งสาม ซึ่งได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือ และ กองทัพอากาศ
กองบัญชาการทหารสูงสุดตั้งอยู่ที่ เลขที่ 127 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 ผู้บัญชาการทหารสูงสุดคนปัจจุบันคือ พลเอกบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์

การทหารในประเทศไทย

รายนามผู้บัญชาการทหารสูงสุด

2007年8月13日月曜日

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า
วิกิพีเดียยังไม่มีบทความที่ตรงกับชื่อนี้
เริ่มบทความ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า
ค้นหา พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า ในบทความอื่น ๆ
ดูบทความที่กล่าวถึง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า
ถ้าคุณสร้างหน้านี้แล้วเมื่อไม่นานมานี้แต่มันยังไม่ปรากฏขึ้น เป็นไปได้ที่จะมีการล่าช้าในปรับปรุงฐานข้อมูล ลองล้างข้อมูลเก่าในเครื่อง หรือกรุณารอสักครู่และตรวจดูอีกครั้งก่อนที่ท่านจะลองสร้างหน้าใหม่
ถ้าคุณสร้างบทความชื่อเรื่องนี้ก่อนหน้านี้ มันอาจจะถูกลบไปแล้ว ดู ปูมการลบ และทำไมหน้าถึงโดนลบ
ถ้าต้องการถามคำถามเกี่ยวกับ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า ให้ลองถามที่ ปุจฉา-วิสัชนา

2007年8月12日日曜日

พ.ศ. 700พ.ศ. 700
พุทธศักราช 700 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 157 - มีนาคม ค.ศ. 158
มหาศักราช 79 วันเกิด

2007年8月11日土曜日

พระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์
พระที่นั่งภัทรบิฐ กางกั้นด้วยพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร คือฉัตรขาว 9 ชั้น ประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ด้วยเช่นกัน เป็นพระที่นั่งสำหรับพระมหากษัตริย์ เสด็จขึ้นประทับทรงรับเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ เครื่องบรมราชูปโภคอันเป็นโบราณมงคล พระแสงอัษฎาวุธ และ พระแสงราชศาสตราวุธ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

พระที่นั่งภัทรบิฐ พระที่นั่งภัทรบิฐ
พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ เป็นพระราชบัลลังก์ทองขนาดย่อม เมื่อมีพระราชพิธีจะเชิญมาทอดบนพระราชบัลลังก์ประดับมุกภายใต้พระนพปฏลมหาเศวตฉัตรอีกชั้นหนึ่ง ใน พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระมหากษัตริย์จะเสด็จขึ้นประทับบนพระราชบัลลังก์นี้ เพื่อเสด็จออกมหาสมาคมเป็นครั้งแรกในรัชกาลของพระองค์

พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์
พระราชบัลลังก์ พระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน เป็นบุษบกประกอบท้ายเกรินทั้ง 2 ข้าง ที่ท้ายเกรินปักฉัตรลายทอง 7 ชั้น ประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย สำหรับพระมหากษัตริย์เสด็จขึ้นประทับ ในวโรกาสเสด็จออกฝ่ายหน้าในงานมหาสมาคม หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุในพระราชพิธี
ปัจจุบัน มีพระราชอาสน์องค์นี้ อยู่ 2 องค์ คือ ในพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพระบรมมหาราชวัง และ ในพระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต

พระที่นั่งภัทรบิฐ พระแท่นราชบัลลังก์ประดับมุก
พระราชอาสน์ราชบัลลังก์ พระที่นั่งพุดตานถม เป็นพระราชอาสน์ที่ประดิษฐานอยู่ในพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นศิลปกรรมเครื่องถมชิ้นเอกของประเทศไทย สร้างน้อมเกล้าฯ ถวายโดยเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ประดิษฐานอยู่บนพระแท่นมาลาฐานหินอ่อน กางกั้นด้วยพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร 9 ชั้น เป็นที่ประทับสำหรับพระมหากษัตริย์ ในโอกาสสำคัญ บ้างก็เสด็จประทับบนพระที่นั่งพุดตานถม บ้างก็เสด็จออกทรงยืนหน้าพระที่นั่งพุดตานถม เพื่อเสด็จออกให้คณะทูตานุทูตต่างประเทศ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระราชสาส์นตราตั้ง เฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล หรือเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทในโอกาสพิเศษต่างๆ เช่นเมื่อตอนการประชุม APEC

2007年8月10日金曜日

คอนเสิร์ตไลฟ์เอิร์ธ
คอนเสิร์ตไลฟ์ เอิร์ธ (Live Earth) คือการจัดคอนเสิร์ตติดต่อกัน 24 ชม.ใน 7 ทวีปทั่วโลกในวันที่ 7 ก.ค. พ.ศ. 2550 ในชื่อว่า Live Earth เพื่อรณรงค์จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับชาวโลก ภายใต้การจัดงานของกลุ่มองค์กร Save Our Selves (SOS) มีลักษณะคล้ายกับ ไลฟ์เอท (Live Aid) มหกรรมคอนเสิร์ตที่ใช้ในการต่อสู้กับความยากจนในทวีปแอฟริกา
ในการแถลงข่าวที่ลอส แองเจลิส "อัล กอร์" อดีตรองประธานาธิปดีของสหรัฐฯได้พานักแสดงสาวแสนสวย คาเมรอน ดิแอซ และแร็ปเปอร์ ฟาเรล วิลเลียมส์ มาร่วมแถลงข่าว
คอนเสิร์ตจัดขึ้นใน 10 เวทีใน 6 ทวีปทั่วโลกพร้อมกันอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง คอนเสิร์ตในครั้งนี้จะจัดขึ้นที่ริโอ เดอ จาเนโร และ นิวยอร์กเป็นที่สุดท้าย หลังจากเปิดฉากที่ซิดนีย์, โตเกียว, เซี่ยงไฮ้, โยฮานเนสเบิร์ก, ฮัมบูร์ก, ลอนดอน, วอชิงตัน, เกียวโต
โดยจะมีศิลปินมาร่วมการแสดงนับร้อยราย ที่เซ็นสัญญาเป็นที่แน่นอนแล้วได้แก่ เรด ฮ็อต ชิลิ เป็ปเปอร์ส, แบล็ค อายด์ พีส์, บอง โจวี, คอร์น, ฟู ไฟเตอร์, ดูแรน ดูแรน, ฟอลล์ เอาท์ บอย, เลนนี คราวิทซ์, จอห์น เลเจนด์, จอห์น เมเยอร์, เชอริล โครว์, มาริสสา เอเธอริดจ์, เคลลี่ คลาร์กสัน, เฟธ ฮิล, ทิม แม็คกราว, เอ็นริเก อิเกลเซียส, ฟาเรล วิลเลียมส์, เอคอน และสนู๊ฟ ด็อก
นอกจากนี้ คอนเสิร์ตไลฟ์ เอิร์ธยังจัดขึ้นอีกกว่า 7,000 แห่งใน 129 ประเทศทั่วโลก

สถานที่จัดคอนเสิร์ตหลักๆ ใน 6 ทวีป

โคคาโคลา โดม, ใกล้ๆ กับกรุงโยฮานเนสเบิร์ก แอฟริกาใต้

  • Danny K, Angelique Kidjo, Baaba Maal, Vusi Mahlasela, The Parlotones, The Soweto Gospel Choir, Joss Stone, UB40, Zola ทวีปแอฟริกา

    ไจแอนต์ส สเตเดียม, นิวเจอร์ซีย์ สหรัฐฯ

    • AFI, Akon, Alicia Keys, Bon Jovi, Dave Matthews Band, Fall Out Boy, John Mayer, Kanye West, Keith Urban, Kelly Clarkson, Kenna, KT Tunstall, Ludacris, Marianne Faithfull, Melissa Etheridge, Roger Waters, Smashing Pumpkins, Taking Back Sunday, The Police
      ชายหาดโคปาคาบานา, ริโอ เดอ จาเนโร บราซิล

      • Lenny Kravitz, Pharrell Williams, Macy Gray, Xuxa, O Rappa, Marcelo D2, Jorge Ben Jor, Jota Quest, Vanessa da Mata, MV Bill ทวีปอเมริกา

        ศูนย์วิจัยโรเธรา

        • Nunatak ทวีปแอนตาร์กติกา

          มาคุฮาริ เมสเส, ชิบะ ญี่ปุ่น

          • Linkin Park, AI, abingdon boys school, Ai Otsuka, Ayaka, Cocco, Genki Rockets, Kumi Koda, Rihanna, RIZE, Xzibit
            วัดโทจิ, เกียวโต ญี่ปุ่น

            • Bonnie Pink, Michael Nyman, Rip Slyme, UA, Yellow Magic Orchestra (special reunion)
              หอไข่มุก, เซี่ยงไฮ้ จีน

              • Anthony Wong, Eason Chan, Evonne Hsu, Huang Xiao Ming, Joey Yung, Sarah Brightman, Soler, Winnie Hsin, 12 Girls Band, Artists from TV shows "My Hero" and "My Show" คอนเสิร์ตไลฟ์เอิร์ธ ทวีปเอเชีย

                ออสซี สเตเดียม, ซิดนีย์ ออสเตรเลีย

                • Blue King Brown, Crowded House, Eskimo Joe, Ghostwriters, Jack Johnson, The John Butler Trio, Missy Higgins, Paul Kelly, Sneaky Sound System, Toni Collette & the Finish, Wolfmother

2007年8月9日木曜日

ลอการิทึม
ลอการิทึม เป็นการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ที่เป็นฟังก์ชันผกผันของ ฟังก์ชันเอกโปเนนเชียล (ใช้ค่าคงตัว หรือ "ฐาน" เป็นเลขยกกำลัง) ลอการิทึมของจำนวน x ที่มีฐาน b คือจำนวน n นั่นคือ x = b คือผลลัพธ์ของตัวประกอบ n ตัว เท่ากับ b
 begin{matrix} underbrace{b times b times cdots times b}  n end{matrix}
อย่างไรก็ตาม อย่างน้อย หาก b เป็นบวก นิยามนี้อาจขยายไปยังจำนวนจริง n ใดๆ (ดูรายละเอีนดจาก ฟังก์ชั่นเอกโปเนนเชียล) ในทำนองเดียวกัน ฟังก์ชั่นลอการิทึมอาจนิยามได้สำหรับจำนวนจริงบวกใดๆ สำหรับฐานบวกb อื่นๆ แต่ละฐาน นอกเหนือจาก 1 ในที่นี้ คือฟังก์ชันลอการิทึม 1 ฟังก์ชัน และฟังก์ชันเอกโปเนนเชียล 1 ฟังก์ชัน โดยมันเป็นฟังก์ชันผกผัน โปรดดูค่าด้านขวามือ
ลอรากิทึมนั้นสามารถลดการดำเนินการคูณ เป็นการบวก การหารเป็นการลบ ยกกำลังเป็นการคูณ และการถอดรากเป็นการหาร ดังนั้น ลอการิทึมจึงมีประโยชน์สำหรับการดำเนินการกับตัวเลขจำนวนมากให้ง่ายขึ้น และมีการใช้อย่างแพร่หลายก่อนมีการใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการคำนวณในด้านดาราศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์, การเดินเรือ และการทำแผนที่ โดยมีคุณสมบัติทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ และยังคงใช้ในหลายรูปแบบ

สงคราม
สงคราม คือ การกระทำที่ฝ่ายต่างๆที่มากกว่าหรือเท่ากับ 2 ฝ่ายขึ้นไปกระทำการล้มล้างกัน มุ่งหมายให้ฝ่ายตรงข้ามเกิดความเสียหาย ซึ่งแต่ละฝ่ายที่ร่วมสงคราม จะทราบว่าผู้ใดอยู่ฝ่ายตรงข้าม
ปัจจัยที่นำไปสู่การทำสงครามมักจะเกิดจาก สิทธิ์ในการปกครอง, อาณาเขต, ทรัพยากรธรรมชาติ, ศาสนา,และ ความคิดที่แต่งต่างกัน เมื่อทั้งสองฝ่ายไม่สามารถที่จะเจรจาเพื่อหาข้อยุติจากความขัดแย้งได้ ก็จะนำไปสู่การแก้ปัญหาด้วยสงคราม
สงครามที่เป็นที่รู้จักได้แก่
สงครามเย็น
สงครามเกาหลี
สงครามครูเสด
สงครามเวียดนาม
สงครามโลก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, สงครามโลกครั้งที่สอง)
สมรภูมิบ้านร่มเกล้า
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามโคโซโว

2007年8月8日水曜日

อะบาคาเวียร์

?

มาช่วยกันเพิ่มเติมและแก้ไขกันเถอะ อีกนิดหนึ่งหน้านี้ก็จะเรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ เริ่มต้นเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย หรือ ภาษาอื่นด้านซ้ายมือ ให้นำกล่องนี้ออกเมื่อมีข้อความเพิ่มเติม

อะบาคาเวียร์(Abacavir)

เอ็นอาร์ติ
เอ็นเอ็นอาร์ติ
พีไอ


2007年8月6日月曜日

�78

<< 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 >>
รายชื่อจำนวน -- จำนวนเต็ม
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 >>
78 (เจ็ดสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 77 (เจ็ดสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 79 (เจ็ดสิบเก้า)



ความหมาย


2007年8月4日土曜日

พุดตาน

พุดตาน สามารถหมายถึง

พุดตาน พืชชนิดหนึ่งประเภทไม้ดอกไม้ประดับ
เพลงดอกพุดตาน ชื่อเพลงไทยของวงสุนทราภรณ์

2007年8月3日金曜日

พายัพ
สารบัญ
นายพายัพ เกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรคนที่ 6 และเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของนายเลิศ และนางยินดี ชินวัตร (อีกคนหนึ่ง คือ นายอุดร เสียชีวิตแล้ว) นายพายัพ สมรสกับ นางพอฤทัย (นามสกุลเดิม จันทรพันธ์) มีบุตรชายหนึ่งคน ชื่อ นายพิรุณ

จบชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรียนมงฟอร์ดวิทยาลัย ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหกรรม) จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส อาร์ลิงตัน สหรัฐอเมริกา และ หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.) รุ่น 4414




ธุรกิจ


2007年8月2日木曜日





อำเภอพรหมบุรี
วัดอัมพวัน
วัดอัมพวัน เป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก สภาพทั่วไปนั้น มีต้นไม้ประมาณ ๓๐๐ ต้น เป็นไม้ดอก - ไม้ใบ ที่ปลูกใหม่ เดิมสภาพพื้นที่จะเป็นที่ที่น้ำท่วมถึง มาบัดนี้ทางวัดได้ทำถนน - คูกั้นน้ำ จึงสามารถป้องกันน้ำไว้ได้ จึงได้มีการปลูกงต้นไม้เพิ่มขึ้น
หลักฐานการตั้งวัด จากการสำรวจทางราชการประมาณกาลตั้งแต่ พ.ศ. ๒๑๗๕ การสร้างอุโบสถ ผูกพัทธสีมา มาแล้ว ๒ ครั้ง ครั้งแรกเมื่อรัชกาลที่ ๓ ครั้งที่ ๒ นี้ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๗๐ เมตร และได้ผูกพัทธสีมา วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๓
ประวัติความเป็นมาของวัด วัดอัมพวัน อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นชื่อเดิมมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา ศิลาจารึกในอุโบสถหลังเก่าจารึกเป็นภาษาจีนว่า คนจีนได้สร้างอุโบสถวัดอัมพวัน สมัยเหม็งเชี้ยว คนจีนได้นำเรือกำปั่นมาทำการค้าขายกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมืองลพบุรี มากับฝรั่งชาติฮอลันดา จอดหน้าวัดอัมพวัน ได้สร้างโบสถ์วัดอัมพวัน สมัยเจ้าอาว�! ��สวัดอัมพวันชื่อ พระครูญาณสังวร อายุ ๙๙ ปี สร้างโบสถ์เสร็จแล้ว ฝรั่งเพื่อนคนจีนได้ขอพระราชทาน พระหน้าปรกหินทั้งสององค์จากสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ให้คนจีนเอาไว้ในโบสถ์ จนถึงการสร้างโบสถ์หลังใหม่มาจนถึงทุกวันนี้
อุโบสถหลังเก่าได้ชำรุดและพังลง เมื่อวันอังคารที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๑ ตรงกับวันแรม ๗ ค่ำเดือน ๓ ปีจอ เวลา ๐๙.๔๕ น. ได้รื้อถอนเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๑ ตรงกับแรม ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. ด้วยแรงชาวบ้านและรถยกของ ป.พัน ๑๐๑ มาช่วยกันรื้ออุโบสถ เสร็จเรียบร้อยภายใน ๔ วัน
เริ่มก่อสร้างอุโบสถ วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๑ วางศิลาฤกษ์ ๑๔-๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ สร้างเสร็จเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ รวมเวลาการก่อสร้าง ๑ ปี ๔ เดือน ๑๕ วัน ผูกพัทธสีมาวันที่ ๘-๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๓
วัดนี้เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๐ ตามลำดับ มาถึง พ.ศ. ๒๕๑๓ กรมการศาสนาได้ยกย่องให้เกียรติ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างมาจนบัดนี้



2007年8月1日水曜日

พระอิศวรปางดุร้าย

พระอิศวรไภรพ หรือ พระอิศวรปางดุร้าย มี ๒ แบบ คือ
๑. กาฬไภรพ ชาวเนปาล เรียกว่า "กาฬไภราพ" ผิวกายเป็นสีดำ สวมเครื่องประดับสีแดงและเหลือง มีสีแดงที่คนเอามาป้ายทาต่างเลือดสังเวยเปรอะทั้งองค์ พระเนตรของพระองค์โปนถลน เขี้ยงโง้ง พระหัตถ์ทั้ง ๖ ถือดาบและอาวุธต่างๆ รวมทั้งหัวคนด้วย เชื่อกันว่าศักดิ์สิทธิ์ สามารถลงโทษคนพูดเท็จให้เลือดออกจนตายได้ เวลาจะสาบานอะไร ต้องมาสาบานที่กาฬไภรพ
๒. เศวตไภรพ ชาวเนปาล เรียกว่า "เสโตไภราพ" เป็นแบบเดียวกับกาฬไภรพ แต่แตกต่างกับกาฬไภรพตรงที่ เศวตไภรพนี้ผิวกายจะเป็นสีขาว